Archive for the ‘บริการสารสนเทศ (Information Service)’ Category

สารานุกรม หรือ คำว่า Cyclopaedia ซึ่งให้ความหมายเหมือนกัน คือเรื่องคัดย่อที่ถูกเขียนขึ้นสำหรับการรวบรวมความรู้ เป็นคำสมาสจากคำว่า”สาร”และ”อนุกรม” กล่าวคือเป็นความรู้ที่เป็นเรื่องราวถูกจัดเรียงในลำดับ จะมีทั้งประเภทความรู้ทั่วไป และความรู้เฉพาะด้านเช่น สารานุกรมการเกี่ยวกับการแพทย์ คณิตศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หรือ จัดทำเพื่อจุดประสงค์เฉพาะ เช่น สารานุกรมสำหรับเยาวชน

(เพิ่มเติม…)

การเรียนรู้จึงเริ่มจากการศึกษาค้นคว้าในเรื่องที่สนใจ เพื่อให้ได้รับข้อมูล สารสนเทศและความรู้ เพื่อเพิ่มพูนความสามารถ การรู้วิธีค้นหาสารสนเทศแลความรู้จึงมีความสำคัญที่ช่วยให้เรามีความรู้กว้างขวางขึ้น  ซึ่งการเรียนรู้ (Learning) นี้เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเนื่องมาจากประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลได้รับมา ดังนั้น การเรียนรู้จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางที่ดีขึ้น โดยการเรียนรู้ทำให้เกิดประสบการณ์และประสบการณ์ทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิต

(เพิ่มเติม…)

ในการเขียนเนื้อหาของบทความวิชาการและบทความวิจัยเพื่อให้มีความน่าเชื่อถือและเป็นการให้เกียรติเจ้าของผลงานที่เราได้ข้อมูลมาประกอบการเขียนบทความไม่ว่าจะเป็นการสรุปย่อข้อความหรือการนำเสนอข้อมูลประเภทรูปภาพ ตาราง  แผนภูมิ  แผนภูมิสถิติโดยเฉพาะอย่างยิ่งการคัดลอกข้อความบางส่วนที่เรียกว่า “อัญพจน์”  จะต้องมีการเขียน

(เพิ่มเติม…)

 

เป็นการสืบค้นทรัพยากรประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ให้บริการในหอสมุด ด้วยระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ALIST (Automated Library System for Thai Higher Education Institute) ซึ่งพัฒนาโดยศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผู้ใช้สามารถสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการได้ด้วยตนเองในระบบออนไลน์ รวมถึงการตรวจสอบการยืม การต่ออายุการยืม และการจองทรัพยากรสารสนเทศที่ผู้อื่นยื

(เพิ่มเติม…)

       

    หนังสืออ้างอิง คือ หนังสือที่ให้เรื่องราวข้อเท็จจริงแก่ผู้ใช้อย่างรวดเร็วและสะดวกในการค้นหา เพราะมีการเรียงลำดับอย่างเป็นระบบและมักจะมีเครื่องช่วยค้นที่ดี ที่สำคัญเขียนโดยผู้ทรงคุณวุฒิจึงให้ข้อมูลที่ถูกต้อง สมบูรณ์และเชื่อถือได้  หนังสืออ้างอิงเป็นหนังสือที่ใช้ค้นคว้าหรืออ่านเพียงตอนใดตอนหนึ่ง มิใช่เป็นหนังสือที่ต้องอ่านตลอดทั้งเล่ม

  (เพิ่มเติม…)

เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) คือใคร

 เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) บรรณารักษ์ชาวอเมริกันเป็นผู้คิดระบบการจัดหมู่หนังสือแบบทศนิยมขึ้น ดิวอี้เป็นที่รู้จักกันทั่วโลกในวงการห้องสมุดและบรรรณารักษศาสตร์ เพราะนอกจากจะเป็นผู้คิดระบบการจัดหมู่แบบระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification) แล้ว ยังเป็นผู้หนึ่งที่ริเริ่ม ก่อตั้งสมาคมห้องสมุดอเมริกันซึ่งเป็นสมาคมอาชีพบรรณารักษ์แห่งแรกในโลก สมาคมนี้ได้มี การฉลองครบรอบร้อยปีของการจัดตั้งเมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1976 ยังเป็นผู้จัดตั้งโรงเรียนบรรณารักษศาสตร์แห่งแรกขึ้น ที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบียนิวยอร์กเมื่อ ค.ศ. 1887 และได้ออกวารสาร Library Journal ซึ่งเป็นวารสารทางบรรณารักษศาสตร์ฉบับแรก

(เพิ่มเติม…)

HW IS2 การบ้าน บริการสารสนเทศ

ปัจจุบันมีข้อมูลจำนวนมากเผยแพร่อยู่ในอินเทอร์เน็ต  มีทั้งข้อมูลเชิงสารคดีและบันเทิงคดี เช่น การรายงานข่าวประจำวัน  ข้อมูลอันดับหนัง อันดับเพลงฮิต  สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ให้บริการบนเว็บ การประกาศโฆษณาขายของบนอินเทอร์เน็ต  ซึ่งมีการคาดการณ์กันว่ามีจำนวนเว็บไซต์เกิดใหม่ในแต่ละวันมีจำนวนเป็นล้านเว็บไซต์ต่อวัน  

(เพิ่มเติม…)

1. อภิปรายสรุปการสืบคืนดังต่อไปนี้ (Serarch Engine) ของห้องสมุด JFK

1.1. การค้นหาทั่วไป, การค้นหาชั้นสูงคืออะไร ทำอย่างไร

1.2. สรุปการสืบค้นฐานข้อมูลดังต่อไปนี้

1.2.1. TDC

1.2.2. DCMS

1.2.3. H.W. Willson

1.2.4. Sprinker Link

1.2.5. Science Direct

 1.2.6. ACM Digital Library

 1.2.7. Proquest Dissertations & Thesis

1.2.8. Grolier Online

 1.2.9. Scopus

1.2.10. Web of Science

1.2.11. ฐานข้อมูลข้อสอบเก่า

2. ช่องทางในการเผยแพร่บริการสารสนเทศของห้องสมุด JFK

 3. การจัดบริการสารสนเทศของห้องสมุด JFK

4. บอกคุณสมบัติของผู้ให้บริการสารสนเทศ (บรรณารักษ์)

รีบทำแล้วรีบแจกจ่ายให้ครบทุกคนด้วย(ช่วยกันลอกน่ะคับ) ไม่ใช่ช่วยกันแสดงความคิดเห็น

ทดสอบ wordpress